ศูนย์อุทกวิทยาชลประทานภาคเหนือตอนบน

เชียงใหม่ | ลำพูน | ลำปาง | แพร่ | น่าน | เชียงราย | พะเยา | แม่ฮ่องสอน

เลือกวันที่
แผนผังลุ่มน้ำยม
28 มีนาคม 2567 ปริมาณน้ำฝน
สถานี (Station) มิลลิเมตร (mm.)
เฉลี่ย
29 มีนาคม 2567 ระดับน้ำและปริมาณน้ำ
สถานี(station) เวลา(time) ระดับน้ำ ม.(ร.ส.ม.) Level-AD. ปริมาณน้ำ ลบ.ม./วิ (cms.)



หมายเหตุ :
การเฝ้าระวังสถานการณ์น้ำ จ.แพร่
การเตือนภัยน้ำท่วมเมืองแพร่
กำหนดการเตือนภัย
โดยใช้ระดับน้ำทางสถานีวัดระดับน้ำ Y.20 บริเวณบ้านห้วยสักและสถานีวัดระดับน้ำ Y.1c บ้านน้ำโค้ง อ.เมือง จ.แพร่ เป็นสถานีหลัก ทั้งนี้ โดยใช้ความสัมพันธ์ของระดับน้ำในช่วงน้ำสูงสุดจาก สถิติข้อมูล ที่เคยเกิดน้ำท่วมในอดีตมาประกอบการวิเคราะห์ ซึ่งสรุปเป็น แนวทางดังนี้
1. กรณีน้ำเต็มตลิ่ง เมื่อระดับน้ำที่สถานีวัดระดับน้ำ Y.20 ประมาณ 8.10 ม.จะสามารถคาดการณ์ว่าถัดไปอีกประมาณ 24 ชั่วโมง น้ำยมจากสถานีวัดระดับน้ำY.20 จะเดินทางไปถึงเมืองแพร่ที่สถานีวัดระดับ น้ำ Y.1c และเกิดน้ำเต็มตลิ่งที่ระดับ 8.20 ม.
2. กรณีเกิดน้ำท่วมขนาดปานกลาง เช่น ปี 2537 ระดับน้ำที่สถานีต้นน้ำ Y.20 จะมี ระดับ น้ำสูงประมาณ 10.60 ม. ก็จะทำให้เกิดน้ำท่วมที่เมืองแพร่ได้ ซึ่งใช้เวลาในการ เดินทางของน้ำประมาณ 20 ชั่วโมง และจะมีระดับน้ำที่สถานีวัดระดับน้ำ Y.1c ประมาณ 10.60 ม.
3. กรณีเกิดน้ำท่วมสูงมาก เช่นปี 2538 ระดับน้ำที่สถานีวัดระดับน้ำ Y.20 อ่านระดับน้ำ ได้ 13.08 ม. และที่เมืองแพร่จะเกิดน้ำท่วมสูงมาก โดยที่สถานีวัดระดับน้ำ Y.1c มีระดับน้ำ 11.73 ม. (ระดับตลิ่ง 8.20 ม.) และน้ำจะเดินทางเร็วมาก จากสถานี วัดระดับน้ำ Y.20 ถึง สถานีวัดระดับน้ำ Y.1c ประมาณ 16–17 ชั่วโมง