ศูนย์อุทกวิทยาชลประทานภาคเหนือตอนบน

เชียงใหม่ | ลำพูน | ลำปาง | แพร่ | น่าน | เชียงราย | พะเยา | แม่ฮ่องสอน |

รายงานสภาพน้ำฝน - น้ำท่า ลุ่มน้ำกวง - ทา- ลี้(ลำพูน)
เลือกวันที่
แผนผังลุ่มน้ำกวง
19 เมษายน 2567 ปริมาณน้ำฝน
สถานี (Station) มิลลิเมตร (mm.)
เฉลี่ย
20 เมษายน 2567 ระดับน้ำและปริมาณน้ำ
สถานี(station) เวลา(time) ระดับน้ำ ม.(ร.ส.ม.) Level-AD. ปริมาณน้ำ ลบ.ม./วิ (cms.)



หมายเหตุ :
การเฝ้าระวังสถานการณ์น้ำ จ.ลำพูน
การเตือนภัยน้ำท่วมเมืองลำพูน
น้ำแม่กวง เป็นแม่น้ำสาขา ของแม่น้ำปิงมีพื้นที่รับน้ำฝน 2,699 ตร.กม. มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาใน อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่มีความยาว ลำน้ำประมาณ 114 กิโลเมตร และไหลลงสู่แม่น้ำปิงที่บ้านสบทา อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
การเตือนภัยน้ำท่วมเมืองลำพูน ใช้ข้อมูลจาก สถานีวัดระดับน้ำ แม่กวง P.81 บ้านโป่ง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่ ซึ่งอยู่ทางเหนือเมืองลำพูน ประมาณ 18 กิโลเมตร ตามลำน้ำ กับสถานีวัดระดับน้ำ P.5 สะพานท่านาง อ.เมือง จ.ลำพูน
กำหนดการเตือนภัย โดยนำข้อมูลระดับน้ำจากสถานีวัดระดับน้ำ P.81 กับ สถานีวัดระดับน้ำ P.5 มาหาความสัมพันธ์ของระดับน้ำในช่วงน้ำ สูงสุดจากข้อมูลที่เคยปรากฎในอดีต มาประกอบในการวิเคราะห์ ซึ่งพอ สรุปเป็นแนวทาง ดังต่อไปนี้
เมื่อระดับน้ำ ที่สถานีวัดระดับน้ำ P.81 บ้านโป่ง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่ มีระดับสูงเกินกว่า 5.80 เมตรในอีก 7 ชั่วโมงถัดมาระดับน้ำที่สถานีวัดระดับน้ำ P.5 ก็จะสูงถึงระดับ 5.00 เมตรเช่นกันซึ่งเป็นระดับที่น้ำเต็มตลิ่ง และเริ่มไหลเข้าท่วมพื้นที่ลุ่ม

รายงาน สภาพน้ำฝน-น้ำท่า ลุ่มน้ำทา

19 เมษายน 2567
ปริมาณน้ำฝน
สถานี ปริมาณฝน (ม.ม.)
20 เมษายน 2567
ระดับน้ำและปริมาณน้ำ
สถานี เวลา ระดับน้ำ ม.(ร.ส.ม.) ปริมาณน้ำ ลบ.ม./วิ

หมายเหตุ
การเฝ้าระวังสถานการณ์น้ำแม่ทา จ.ลำพูน
การเตือนภัยน้ำท่วม อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
ลุ่มน้ำแม่ทา อยู่ในลุ่มน้ำปิง เป็นสาขาย่อยของแม่น้ำกวง ต้นน้ำ อยู่บริเวณทิวเขาฝั่งตะวันออก ของอำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ น้ำแม่ทามีความยาวทั้งสิ้น 107 กิโลเมตร การเตือนภัยน้ำท่วม อ.ป่าซางใช้ข้อมูลจาก สถานี วัดระดับน้ำแม่ทา P.77 บ้านสบแม่สะป๊วด อ.แม่ทา จ.ลำพูน ซึ่งอยู่ทาง เหนือ อ.ป่าซางประมาณ 31 กม. ตามลำน้ำ กับสถานีวัดระดับน้ำ อ.ป่าซาง P.87 อ.แม่ทา จ.ลำพูน กำหนดการเตือนภัย
โดยนำข้อมูลระดับน้ำจากสถานีวัดระดับน้ำ P.77 กับ สถานีวัดระดับน้ำ P.87 มาหาความสัมพันธ์ของระดับน้ำในช่วงน้ำ สูงสุดจากข้อมูลที่เคยปรากฎในอดีต มาประกอบในการวิเคราะห์ ซึ่งพอ สรุปเป็นแนวทาง ดังต่อไปนี้
เมื่อ ระดับน้ำ ที่สถานีวัดระดับน้ำ P.77 บ้านสบแม่สะป๊วด อ.แม่ทา จ.ลำพูน มีระดับสูงเกินกว่า 3.80 ม. ในอีก 8-9 ชั่วโมงถัดมา ระดับน้ำที่ สถานีวัดระดับน้ำ P.87 ก็จะสูงถึงระดับ 4.10 ม. เช่นกัน ซึ่งเป็น ระดับที่น้ำเต็มตลิ่ง และเริ่มไหลเข้าท่วมพื้นที่ลุ่ม

รายงาน สภาพน้ำฝน-น้ำท่า ลุ่มน้ำลี้
19 เมษายน 2567
ปริมาณน้ำฝน
สถานี ปริมาณฝน (ม.ม.)
เฉลี่ย
20 เมษายน 2567
ระดับน้ำและปริมาณน้ำ
สถานี เวลา ระดับน้ำ ม.(ร.ส.ม.) ปริมาณน้ำ ลบ.ม./วิ

การเฝ้าระวังสถานการณ์น้ำลี้ จ.ลำพูน การเตือนภัยน้ำท่วม อ.ลี้ จ.ลำพูน
ลุ่มน้ำแม่ลี้ ไหลผ่าน อ.ลี้ มีพื้นที่รับน้ำฝน 2,052 ตร.กม. ต้นกำเนิดจากดอยขุนแม่กวง ในเขต กิ่ง อ. ทุ่งหัวช้าง จ.ลำพูน มีลำน้ำสายเล็ก ๆ ไหลลงสู่ 3 สายด้วยกัน คือ น้ำแม่ตัดไหลผ่าน อ.ลี้ลงสู่น้ำลี้ น้ำแวนไหลผ่านตัว อ.ป่าซาง กิ่ง อ. ทุ่งหัวช้างแล้วไหลลงสู่น้ำลี้ น้ำลอน ไหลผ่าน อ.บ้านโฮ่งและ อ.แม่ทาแล้วไหลลงน้ำลี้ น้ำสี้ไหลลงแม่น้ำปิงที่บ้านสบลี้ อ.บ้านโฮ่ง มีความยาวทั้งสิ้น 210 กม. การเตือนภัยน้ำท่วมบ้านหล่ายแก้วใช้ข้อมูลจาก สถานีวัด ระดับน้ำลี้ P.76 บ้านแม่อีไฮ อ.ลี้ จ.ลำพูน ซึ่งอยู่ทางเหนือสถานีวัดระดับน้ำ P.85 บ้านหล่ายแก้ว ประมาณ 44.3 กม. ตามลำน้ำ กับสถานีวัดระดับน้ำ P.85 บ้านหล่ายแก้ว อ.บ้านโฮ่ง จ.ลำพูน กำหนดการเตือนภัย
โดยนำข้อมูลระดับน้ำจากสถานีวัดระดับน้ำ P.76 กับ สถานีวัดระดับน้ำ P.85 มาหาความสัมพันธ์ของระดับน้ำในช่วงน้ำ สูงสุดจากข้อมูลที่เคยปรากฎในอดีต มาประกอบในการวิเคราะห์ ซึ่งพอ สรุปเป็นแนวทาง ดังต่อไปนี้
เมื่อระดับน้ำ ที่สถานีวัดระดับน้ำ P.76 บ้านแม่อีไฮ อ.ลี้ จ.ลำพูน มีระดับสูงเกินกว่า 5.40 ม. ในอีก 15 ชั่วโมงถัดมา ระดับน้ำที่สถานีวัดระดับน้ำ P.85 ก็จะสูงถึงระดับ 3.50 ม. เช่นกัน ซึ่งเป็นระดับที่น้ำเต็มตลิ่ง และเริ่มไหลเข้าท่วมพื้นที่ลุ่ม